พลูคาว รับประทานอย่างไรให้ปลอดภัย

<strong>พลูคาว</strong> รับประทานอย่างไรให้<strong>ปลอดภัย</strong> #1

แม้พลูคาวมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายอยู่มาก และไม่ก่อให้เกิดอันตรายสำหรับคนทั่วไปหากบริโภคในปริมาณที่เหมาะสมจากการรับประทานอาหาร แต่ขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลหรือการทดลองใดยืนยันชัดเจนได้ว่าพลูคาวมีประสิทธิผลทางการรักษาหรือป้องกันโรคต่าง ๆ ในมนุษย์ได้ ผู้บริโภคจึงควรระมัดระวังในการบริโภคพลูคาว โดยเฉพาะในรูปผลิตภัณฑ์อาหารเสริม โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขประเทศไทยเผยว่า ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หรือโรคไต ควรระมัดระวังในการบริโภคอาหารเสริมจากพลูคาวเป็นพิเศษ ควรปฏิบัติตามคำแนะนำและอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด เพราะผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจได้รับผลข้างเคียงจากพลูคาวจนทำให้เกิดอาการบวมน้ำและมีภาวะไตวายเฉียบพลัน ได้

ในประเทศไทย การผลิตอาหารเสริมจากพลูคาวนั้นได้รับการควบคุมมาตรฐานและกำหนดกระบวนการผลิตอย่างเคร่งครัด แต่เพื่อประโยชน์และความปลอดภัยสูงสุดของตัวผู้บริโภคเอง ควรคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ก่อนเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากพลูคาว

  • ผู้บริโภคควรมีสุขภาพดี ไม่มีโรคประจำตัว เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดผลข้างเคียงหลังใช้สารสกัดจากพลูคาว
  • กระบวนการผลิต กระทรวงสาธารณสุขกำหนดว่า ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมพลูคาวต้องใช้กระบวนการสกัดด้วยการบดผง หรือ สกัดด้วยน้ำจากใบพลูคาวเท่านั้น ดังนั้น ผู้บริโภคควรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานดังกล่าวและได้รับการรับรองอย่างถูกต้อง
  • ไม่ควรบริโภคสารเควอซิทินจากอาหารเสริมเกิน 1 กรัม/วัน เพราะหากร่างกายได้รับสารเควอซิทินมากเกินไป อาจทำให้ไตเสียหายได้ ซึ่งผู้บริโภคศึกษาข้อมูลได้จากฉลากผลิตภัณฑ์

ที่มา pobpad.com

พาวน้ำ ขวดใหญ่ POW พาวเอสเซ้นส์ พาวน้ำพลูคาว

พาวซุยยากุเอสเซนส์ น้ำสมุนไพรพลูคาวสกัดเข้มข้น พาวซุยยากุเอสเซนส์ หรือพาวน้ำ  ผลิตภัณฑ์น้ำสมุนไพรสกัด 11 ชนิด ประกอบด้วยพลูคาวเป็นส่วนประกอบหลัก และสมุนไพรอื่น 10 ชนิด ได้แก่ ใบมะรุม มะขามป้อม กระชายดำ ตังกุย เห็ดหลินจือ เก๋ากี๊ สมอไทย โสม ลูกยอ เจี...

ดูรายละเอียด

สุขภาพชาย

บทความน่ารู้

VHerb ดูแลสุขภาพคุณยังไง

หากภูมิต่ำ ด้วยการผสานพลัง 5 ยอดสมุนไพรสกัด ทั้งสารสกัดพลูคาว สารสกัดกระชาย สไปรูลิน่า เบต้ากลูแคนจากยีสต์ และสารสกัดมะขามป้อม จะช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว จึงเพิ่มภูมิคุ้มกันให้ร่างกายได้ หากกลัวโรคร้ายอย่างมะเร็ง เพิ่มความมั่นใ...

อ่านต่อ

ทำความรู้จัก ใบพลูคาว

พลูคาว เป็นพืชสมุนไพรประจำถิ่นที่พบมากในแถบภาคเหนือและอีสานของไทย และยังพบในบริเวณเทือกเขาหิมาลัย อินเดีย เรื่อยมาจนถึงจีน เวียดนาม ลาว เกาหลี และญี่ปุ่น ซึ่งถือเป็นพืชตระกูลเดียวกับพลู ชอบขึ้นในพื้นที่ชื้นแฉะ มีร่มเงาเล็กน้อยและสภาพอากาศเย็น โดยจะมี...

อ่านต่อ

ทำไม ไม่ควร วิ่งตอนกลางคืน

นอกจากเหตุผลด้านความปลอดภัยแล้วการวิ่งตอนกลางคืน หรือ ใกล้ช่วงเวลาเข้านอนก็ยังส่งผลเสียด้วยเช่นกัน เคยมีผลการศึกษาที่ชี้ว่าเราสามารถออกกำลังกายตอนเย็นได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีเลยล่ะ แต่เราไม่ควรออกกำลังกายในช่วงเวลาก่อนนอนอย่างน้อย ๆ ก็หนึ่งชั่วโมง เนื่...

อ่านต่อ

นักวิ่งกินกล้วยแล้วดี

ก่อนวิ่งกินกล้วย ระหว่างวิ่งกินกล้วย หลังวิ่งกินกล้วย นักวิ่งกินกล้วยแล้วดีอย่างไร? กล้วย ผลไม้สีเหลืองนวล ถูกจัดเป็นแหล่งพลังงานอันโปรดปราณของนักวิ่งมานักต่อนัก เนื่องจากความ ง่าย พกพาง่าย หาซื้อง่าย รับประทานง่าย แล้วก็ย่อยง่าย ง่ายแบบปลอกกล้วยเข้า...

อ่านต่อ

ไม่ควรกินมื้อดึก

การกินอาหารตั้งแต่ช่วง 22.00 น.เป็นต้นไป ไม่ใช่เรื่องที่ดีเลย หลายคนปฎิเสธไม่ได้เพราะ หน้าที่การงานแต่ละคนไม่เหมือนกันบางคนจำเป็นต้องกินดึกจริงๆ เพราะเป็นเวลาว่างของการทำงานช่วงกะดึก แต่สำหรับบางคนที่เวลาทำงานปกติ แต่กับติดกินมื้อดึกเกือบทุกวัน สาเห...

อ่านต่อ