ไขปมผู้ป่วย เบาหวาน ติดเชื้อโควิด ทำไมเสี่ยงตายสูง

ไขปมผู้ป่วย <strong>เบาหวาน</strong> ติดเชื้อ<strong>โควิด</strong> ทำไมเสี่ยงตายสูง #1

ไขปมผู้ป่วย "เบาหวาน" ติดเชื้อโควิด ทำไมเสี่ยงตายสูง?ซึ่งหากติดเชื้อโควิด19ส่งผลกระทบต่อการควบคุมเบาหวานได้แย่ลง เนื่องจากเอนไซม์ต่างๆที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อเบาหวานคุมไม่ได้ น้ำตาลก็สูงขึ้น น้ำตาลที่สูงขึ้นเรื่อยๆทำให้เม็ดเลือดขาวทำงานแย่ลง ทำให้ ไวรัสโควิด19 เข้าไปทำลาย Tcells (ทีเซลล์)ของเม็ดเลือดขาวได้ง่ายขึ้น ซึ่ง Tcells ทำหน้าที่แจ้งเตือน และ ชี้นำให้เซลตัวอื่นๆของเม็ดเลือดขาวรับทราบว่ามีเชื้อแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย และ ไปทำลายเชื้อโรค แต่หาก T cells ถูกทำลายร่างกายก็จะมีปัญหาเกี่ยวกับสร้างภูมิคุ้มกันขึ้น ต่อสู้กับเชื้อโรค จนส่งผลกระทบต่อการสร้างภูมิคุ้มกันโดยรวม

งานวิจัยชิ้นนี้ อาจตอบปัญหาได้ว่า ทำไมเชื้อไวรัสโควิดจึงแพร่กระจายได้รวดเร็ว และ ผู้ที่ป่วยและหายดีแล้วจึงกลับไปติดเชื้อซ้ำ ซึ่งเป็นเพราะ T cells ถูกทำลายไปนั่นเอง ส่วนการป้องกันก็ทำได้ยากกว่าการป้องกันเชื้อ HIV เนื่องจากไวรัสโควิด 19 เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ

อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้ทุกคนเสริมสร้าง หรือ NK Cell  (Natural Killer Cell) ซึ่งเป็นเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งในร่างกาย ตรวจพบประมาณ 15% ของจำนวนเม็ดเลือดขาว มีหน้าที่หลักๆมีไว้จัดการกับเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และ เซลล์มะเร็ง เสมือนด่านแรกในการปกป้องร่างกายจากเชื้อโรค ซึ่งมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อไวรัสได้ดีกว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวทั่วไป 

ดังนั้นจึงควรเสริมภูมิต้านทานให้แก่ NK Cell  คือ

  • การรับประทานอาหารครบหมู่ 
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอพักผ่อนให้เพียงพอ
  • รับประทานอาหารที่มีผลต่อ NK Cell ได้แก่ อาหารที่มีเบต้าแคโรตีน วิตามินซี วิตามินอี อาหารจำพวกเห็ด รวมทั้งรับประทานอาหารเสริมที่มีผลต่อการเพิ่มภูมิคุ้มกัน ได้แก่ พูลคาว, บลูเบอร์รี, เห็ดไมตาเกะ, เห็ดหลินจือ, กระเทียม ,ถั่งเช่า, สารสกัดจากรำข้าว และ ธัญพืชหลายชนิด
  • ปล่อยวางความเครียดและคอยหมั่นสังเกตร่างกายตัวเอง
  • เพิ่มภูมิคุ้มกัน ด้วยวิธีภูมิคุ้มกันบำบัด

Credit : TNN

POW พาวโปรตีน พาวเดลี่ POW Daily

พาวเดลี่ POW Daily โปรตีนจากพืช Multi Plant Protein 5 ชนิด พาวโปรตีน เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการบำรุง เสริมพลังงานให้เพียงพอต่อความจำเป็นของร่างกาย ใน 1 วัน  เด็กที่ไม่ทานผัก หรือผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่ทานอาหารยาก ทานได้น้อย เบื่ออาหาร  หรือผู้ที่ออกกำลัง...

ดูรายละเอียด

สุขภาพชาย

บทความน่ารู้

ทำไม ไม่ควร วิ่งตอนกลางคืน

นอกจากเหตุผลด้านความปลอดภัยแล้วการวิ่งตอนกลางคืน หรือ ใกล้ช่วงเวลาเข้านอนก็ยังส่งผลเสียด้วยเช่นกัน เคยมีผลการศึกษาที่ชี้ว่าเราสามารถออกกำลังกายตอนเย็นได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีเลยล่ะ แต่เราไม่ควรออกกำลังกายในช่วงเวลาก่อนนอนอย่างน้อย ๆ ก็หนึ่งชั่วโมง เนื่...

อ่านต่อ

โรคฉวยโอกาส มาเยือนเมื่อภูมิต่ำ

หลายคนอาจจะไม่เป็นกังวล เพราะไม่รู้ว่าเมื่อภูมิคุ้มกันลดน้อยลง จะเกิดอะไรขึ้น อายุที่เพิ่มมากขึ้น ความเครียดจากการทำงาน การนอนไม่หลับพักผ่อนน้อย ส่งผลให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอจนเสื่อมโทรมลงได้ แล้วรู้หรือไม่ว่าการปล่อยให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอก็เหมือนการเปิดป...

อ่านต่อ

โรคเชื้อราในลำไส้ คืออะไร

เชื้อราในลำไส้ ก็เช่นเดียวกับเชื้อราในผิวหนัง หรือเชื้อราที่ศรีษะ เพียงแค่เกิดขึ้นกับอวัยวะภายในโดยเฉพาะผิวลำไส้  ซึ่งในลำไส้จะประกอบไปด้วยเชื้อรา แบคทีเรีย และจุลินทรีย์ที่ดี ซึ่งจะมีอยู่พึ่งพากันและสมดุลไม่มีตัวใดตัวหนึ่งมากหรือน้อยเกินไป  เชื้อรา...

อ่านต่อ

วิ่งมานานทำไมยังไม่ผอมซะที

วิ่งแล้วกินอะไรก็ได้เมื่อออกกำลังกาย เราจะเริ่มประทานอาหารมากขึ้นเป็นปกติ สาเหตุเพราะร่างกายต้องการพลังงานเพิ่มสำหรับประกอบกิจกรรมออกกำลังกาย แต่กับดักแรกที่สำคัญคือ เมื่อวิ่งจบ นักวิ่งมักจะคิดไปเองว่าร่างกายได้เผาผลาญแคลอรี่ในปริมาณมากกว่าปกติ เราไ...

อ่านต่อ

ลดไขมันเลว

โปรเจคลดเลว ด้วยนวัตกรรมแห่งอนาคตของคนไทย BlueSpira ที่วิจัยและทดสอบในอาสาสมัครจริง พิสูจน์ได้ว่าไขมันเลวลดลง 4เท่า! หยุดสัญญาณทำร้ายสุขภาพอันดับ 1 ใน 3 เดือนที่ทาน กับ Pow Zukar Q หากเป็นเรื่องสุขภาพ แค่รู้สึกได้ไม่พอ! ต้องวัดผลออกมาเป็นงา...

อ่านต่อ