อาชีพ ที่เสี่ยงกับ โรคมะเร็ง

อาชีพ ที่เสี่ยงกับ โรค<strong>มะเร็ง</strong> #1

การได้รับสารเคมีจากการทำงานบางชนิดเป็นระยะเวลานาน (4-40 ปี) อาจเป็นเหตุให้เซลล์มีการแบ่งตัวมากผิดปกติ เกิดการเจริญเติบโตของเซลล์จนไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้เกิดเนื้องอกชนิดร้ายแรงหรือ มะเร็ง ตามข้อมูลที่ระบุไว้ในเว็บไซต์กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สามารถสรุปและยกตัวอย่างอาชีพที่เกี่ยวข้องออกเป็น 4 ลักษณะงาน ว่าอาชีพไหนเสี่ยงที่จะได้รับสารก่อมะเร็ง และ อวัยวะใดที่จะได้รับผลกระทบในการเกิดมะเร็ง

คนงานเหมือง โรงถลุงแร่

อาชีพและลักษณะงานที่เกี่ยวข้อง คนงานเหมือง / โรงถลุงแร่ อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง การรื้อซ่อมอาคาร สารก่อโรค คือ แร่ใยหิน (แอสเบสตอส) อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ ปอด ทางเดินอาหาร เยื่อหุ้มปอด

อุตสากรรมไม้ แปรรูปไม้

พบในอาชีพและลักษณะงานที่เกี่ยวข้อง อุตสากรรมไม้ และแปรรูปไม้ สารก่อโรค คือ ฝุ่นไม้  เขม่า อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ โพรงจมูก

เม็ดสี และ สีย้อม

พบในอาชีพ และลักษณะงานที่เกี่ยวข้อง คือ การผลิตเม็ดสี และสีย้อม ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ สารก่อโรค คือ เบนซิดีน อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ กระเพาะปัสสาวะ

น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเชื้อเพลิง

พบในอาชีพ และลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับ คือ น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเชื้อเพลิง สารก่อโรค คือ น้ำมันที่ได้จากหินดาล (Shale oil) อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ ผิวหนัง

พาวน้ำ ขวดเล็ก POW พาวเอสเซ้นส์ น้ำสมุนไพรพลูคาว

พาวน้ำขนาดใหม่  375 ml. พกพาสะดวกพาวน้ำ หรือ พาวซุยยากุเอสเซ้นส์ พาวขวดเล็ก พกพาสะดวก และเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการทดลองทาน อัดแน่นด้วยส่วนผสมสมุนไพรที่มีประโยชน์เหมือนเดิม ประกอบด้วยสมุนไพรทั้งหมด 11 ชนิด ได้แก่ พลูคาว ใบมะรุม ลูกยอ กระชายดำ ตังกุย เห...

ดูรายละเอียด

ต่อต้านอนุมูลอิสระ

บทความน่ารู้

โพรไบโอติก ช่วยให้ คุณไม่ป่วย

ดร.ไช่อิงเจี๋ย ศาสตราจารย์ สถาบันวิจัยชีวเคมีและอณูชีววิทยา มหาวิทยาลัยแห่งชาติหยังหมิง ไต้หวัน อธิบายถึงความสำคัญของโพรไบโอติกต่อสุขภาพ ว่า ลำไส้เป็นอวัยวะสร้างภูมิคุ้มกันที่สำคัญที่สุด ร่างกายคนเรามีเซลล์ภูมิคุ้มกันราวร้อยละ 70 กระจายอยู่ในลำไส้ ช...

อ่านต่อ

ข้อแนะนำการป้องกันโรคมะเร็ง

มะเร็งเป็นโรคที่นักวิจัยรายงานว่าสามารถป้องกันได้ถึง 30-40 เปอร์เซ็นต์ สาเหตุส่วนหนึ่งของการเกิดมะเร็งมีผลจากวิถีการดำเนินชีวิตและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี และ 35 เปอร์เซ็นต์ของปัจจัยเสี่ยงมาจากน้ำหนักส่วนเกิน อาหาร และองค์ประกอบของอาหาร เช่น ไขมัน ...

อ่านต่อ

อายุมากขึ้น กินอาหารเท่าเดิม อาจไม่เพียงพอ

เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น แต่กินอาหารในปริมาณเท่าเดิม อาจไม่เพียงพอต่อร่างกายเมื่อคนเราอายุมากขึ้น ระบบต่างๆ ในร่างกายก็จะมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ลดลง โดยเฉพาะระบบการย่อยและการดูดซึมสารอาหารอย่างโปรตีน ที่มีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก ก็มีประสิทธิภ...

อ่านต่อ

ภาวะลองโควิด

สถาบันการแพทย์ส่วนใหญ่แนะนำให้ผู้ที่มีภาวะลองโควิดทานผลิตภัณฑ์ที่มีโพรไบโอติกส์ ที่มีอยู่ในโยเกิร์ต กิมจิ ผักดอง เป็นต้น ซึ่งปริมาณที่มีอยู่นั้น ยังไม่เพียงพอ จึงแนะนำให้ทานผลิตภัณฑ์ที่มีทั้งโพรไบโอติกส์และพรีไบโอติกส์ 10 ล้าน Cfu ขึ้นไปโพรไบโอติกส์...

อ่านต่อ

ความเชื่อผิดๆ โรคเบาหวาน

ความเชื่อ: รับประทานอาหารที่มีน้ำตาลสูงทำให้เป็นเบาหวานความจริง: โรคเบาหวานมี 2 ชนิดคือ เบาหวานประเภทที่ 1 (Diabetes Type1) เกิดจากสาเหตุพันธุกรรมและยังไม่ทราบปัจจัยแน่ชัดทำให้ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ เบาหวานประเภทที่ 2 (Diabetes Type2) เกิดจ...

อ่านต่อ