บลูสเปียร่า สารสกัดจากสาหร่ายสไปรูลิน่า

สารสกัด Blue Spira (บลูสเปียร่า) ส่วนผสมหลักใน พาวซูการ์คิว ผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งพบว่ามีสารต้านอนุมูลอิสระ ไฟโคไซยานินสูงกว่าปกติ ไม่มีผลกับไต คณะวิจัยของมหาวิทยาลัยพะเยา การเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลิน่า สายพันธ์ Platensis ด้วยกรรมวิธีพิเศษเอกสิทธ์ บลูสเปียร่า และได้ผ่านการทดสอบจากอาสาสมัครในการลดน้ำตาล และ ลดไขมันในเลือด นอกจากนี้ยังช่วยลดการอักเสบ ชะลอความเสื่อมสภาพภายใน

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

ภูมิคุ้มกัน สำคัญมาก สำหรับโลกวันนี้

ภูมิคุ้มกัน สำคัญมาก สำหรับโลกวันนี้ หากเปรียบร่างกายเหมือนประเทศ ภูมิคุ้มกันในร่างกายก็เปรียบเสมือนทหารที่คอยกำจัดผู้รุกราน ซึ่งได้แก่เชื้อไวรัส แบคทีเรีย ที่เข้าสู่ร่างกายไม่ให้กระจายขยาย และกำจัดออกไป ซึ่งการที่จะเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงมีหลายห...

อ่านต่อ

จะเกิดอะไรขึ้น หากคุมเบาหวานไม่ได้

เบาหวาน เมื่อเป็นแล้ว ไม่สามารถรักษาให้ให้ขาดได้ แต่สามารถควบคุมได้ ซึ่งทำได้โดยไปพบแพทย์เป็นประจำ เพื่อติดตามและเฝ้าระวังอาการดูแลและควบคุมอาการด้วยตนเอง ทั้งการกินอาหาร ออกกำลังกาย การกินยา รวมถึงการฉีดอินซูลิน(สำหรับผู้ป่วยบางราย)สามารถแบ่งกลุ่มผู...

อ่านต่อ

อินซูลิน ควรรู้ก่อนใช้ควบคุม เบาหวาน

อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่ตับอ่อนสร้างขึ้นและจำเป็นในการนำน้ำตาลในเลือดไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ ทั่วร่างกายที่ต้องการพลังงาน แต่ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน การสร้างเซลล์ต่างๆ ในร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงจากอาหารไปใช้ให้เป็นพลังงานได้อย่า...

อ่านต่อ

การวิ่งเปลี่ยนร่างกาย และ จิตใจ

การวิ่งเปลี่ยนร่างกายและจิตใจได้อย่างไร ไว้ดังนี้สุขใจ การวิ่งกระตุ้นให้สมองหลั่งสารเอ็นโดรฟิน สารเคมีธรรมชาติ ซึ่งมีฤทธิ์บรรเทาอาการปวด และทำให้รู้สึกสุขสบายสมองดี นักวิจัยจากฟินแลนด์พบว่า หนูทดลองที่วิ่งเก่ง มีผลทดสอบด้านการเรียนรู้สูง และนักวิจัย...

อ่านต่อ

ความเครียด ลำไส้ สัมพันธ์กัน

เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมเวลาเครียดมากๆ เราถึงรู้สึกปวดท้อง กระอักกระอ่วน อาการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับลำไส้อย่างไร และ มีวิธีแก้อย่างไรได้บ้าง ลำไส้นั้นก็เหมือนสมองอันที่สองของร่ายกาย เพราะลำไส้มีสาร Serotonin (เซโรโทนิน) คือสารที่ส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก...

อ่านต่อ