สมุนไพรสกัดจากธรรมชาติ พาว

[[pic1]]

จากประสบการณ์ดูแลตัวเองมาตลอดเกือบ 40 ปี  เห็นปัญหาของคนเจ็บป่วยที่ส่วนใหญ่เลือกใช้ชีวิตแบบใช้ไปก่อน รักษาทีหลัง ซึ่งบางทีก็สายเกินไป  ผมจึงพยายามแนะนำทุกคนให้ดูแลตัวเองในแบบวิถีธรรมชาติในวันที่เรายังมีตัวเลือก

ผมเชื่อว่าร่างกายเราคือ ความมหัศจรรย์จากธรรมชาติ มียารักษาเราอยู่เสมอ อยู่ที่ว่าเราจะค้นพบเจอรึเปล่า

พาว คือ ธรรมชาติอันมหัศจรรย์ของสมุนไพร สมุนไพรไทยเรามีสรรพคุณมากมาย เป็นตำรับยาความเชื่อมาโดยตลอด

พาว เป็นนวัตกรรมสมุนไพรไทย ที่ใช้เวลามากกว่า 15 ปี พิสูนจ์ด้วยงานวิจัยมากมาย เพื่อให้สมุนไพรไทยทรงคุณค่าไปทั่วโลก

เพราะชีวิตของเรามีคุณค่า สุขภาพของเราก็เช่นกัน ควรดูแลด้วยความพิถีพิถัน ด้วยประโยชน์สูงสุดจากธรรมชาติครับ

พาวน้ำ ขวดใหญ่ POW พาวเอสเซ้นส์ พาวน้ำพลูคาว

พาวซุยยากุเอสเซนส์ น้ำสมุนไพรพลูคาวสกัดเข้มข้น พาวซุยยากุเอสเซนส์ หรือพาวน้ำ  ผลิตภัณฑ์น้ำสมุนไพรสกัด 11 ชนิด ประกอบด้วยพลูคาวเป็นส่วนประกอบหลัก และสมุนไพรอื่น 10 ชนิด ได้แก่ ใบมะรุม มะขามป้อม กระชายดำ ตังกุย เห็ดหลินจือ เก๋ากี๊ สมอไทย โสม ลูกยอ เจี...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

ลำไส้ดี ชีวิตยืนยาว

สุขภาพยังดีอยู่ไหม ให้ดูลึกถึงลำไส้ เพราะ 70% ของภูมิคุ้มกันอยู่ในนั้น หลายคนอาจยังไม่รู้ว่า ลำไส้ไม่ได้เป็นเพียงอวัยวะย่อยอาหาร แต่ยังเป็นบ้านของภูมิคุ้มกันหลังใหญ่ที่สุด หากสมดุลของลำไส้สะดุด จุลินทรีย์ดีในลำไส้ก็จะลดน้อยลง ส่งให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ...

อ่านต่อ

เบาหวาน เสี่ยงโควิด

โรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่าง "เบาหวาน" เป็น 1 ใน 8 ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดปอดอักเสบของผู้ป่วย COVID-19 แล้วคนเป็นเบาหวานต้องดูแลตัวเองอย่างไรให้ปลอดภัยจาก COVID-19 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เผย 8 ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดปอดอักเสบของผู้ป่วย COVID-19 ...

อ่านต่อ

สมุนไพรป้องกัน โรคเบาหวาน

นอกจากการรักษาโรคเบาหวานตามวิธีทางการแพทย์และธรรมชาติบำบัดแล้ว ยังมีอีกวิธีหนึ่ง คือ การรับประทานสมุนไพรที่มีสรรพคุณป้องกัน และรักษาอาการของโรคเบาหวานให้ทุเลาลงได้ บทความนี้ จะกล่าวถึงสมุนไพรแก้เบาหวาน 5 ชนิดมะระขี้นกมะระขี้นกเป็นสมุนไพรที่อุดมไปด้ว...

อ่านต่อ

ผักเชียงดา ผู้ฆ่าน้ำตาล

ผักเชียงดามีคุณประโยชน์มากมาย แต่สรรพคุณที่เด่นชัดก็คือ การถูกเรียกว่าเป็นผู้ฆ่าน้ำตาล ทั้งนี้รากศัพท์จากชื่อวิทยาศาสตร์ของผักเชียงดา คือ จิมนีมา (GYMNEMA) มาจากคำที่มีรากศัพท์ของภาษาฮินดูในประเทศอินเดียว่า เกอร์มาร์ (GURMAR) ซึ่งแปลตรงตัวว่าผู้ฆ่าน...

อ่านต่อ