การออกกำลังกาย ผู้ป่วยเบาหวาน

การ<strong>ออกกำลังกาย</strong> <strong>ผู้ป่วยเบาหวาน</strong> #1
การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน ให้ผลคล้ายกับการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งช่วยนำน้ำตาลในเลือดออกไปใช้ที่กล้ามเนื้อได้ดีขึ้น ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ขั้นตอนการออกกำลังกาย ประกอบด้วย 3ขั้นตอน เหมือนการออกกำลังกายปกติ
  1. Warm up
  2. Training zone exercise
  3. Cool down

หลักการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน มีรายละเอียดดังนี้

  • ออกกำลังกาย อย่างน้อย 3ครั้ง/สัปดาห์ วันที่หยุดพักไม่ควรเกิน 2วัน
  • ระดับหนักพอควร (40-59% ของชีพจรสำรอง)
  • ออกกำลังกาย 30 นาที ต่อวัน หรือ 150 นาทีต่อสัปดาห์
  • สามารถแบ่งรอบสะสมได้ โดยแต่ละรอบควรถึงระดับหนักพอควร อย่างน้อย 10นาที
  • สวมรองเท้าที่เหมาะสม
  • ตรวจดูเท้าทุกครั้งหลังออกกำลังกาย
  • หลีกเลี่ยงการออกกำลังในที่ร้อนจัดหรือเย็นจัด
  • หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในกรณีที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้
  • เช็คระดับน้ำตาลในเลือดก่อนออกกำลัง หากน้อยกว่า 100 mg% ควรทานคาร์โบไฮเดรต 15 g. ก่อนออกกำลังกาย
การออกกำลังแบบแอโรบิค (การออกกำลังที่มีการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ทำงานอย่างต่อเนื่องเช่น เดินเร็ว, ปั่นจักรยาน, ว่ายน้ำ)
การออกกำลังแบบมีแรงต้าน เช่น ใช้ดัมเบล, ยางยืด, ออกกำลังด้วยเครื่องออกกำลังมีแรงต้าน หากทำร่วมกับการออกกำลังแบบแอโรบิค จะช่วยให้ผลในการควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดียิ่งขึ้น ควรทำ 2 วัน/สัปดาห์ (ไม่ควรทำติดกัน 2วัน) ท่าละ 5-10 ครั้ง และ 3-4 เซ็ต
การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน ควรหลีกเลี่ยงการทำท่าที่ต้องเกร็งค้างไว้และไม่ควรใช้แรงต้านที่มากเกินไป

อาการสำคัญที่บ่งบอกว่าน้ำตาลในเลือดต่ำ

  • เหงื่อออก
  • ใจเต้นเร็ว
  • มึนงง เวียนศีรษะ
  • มือสั่น กระสับกระส่าย
  • รู้สึกหิว
  • อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
  • ปวดศีรษะ
  • ตาพร่า

หากมีอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ ควรปฏิบัติดังนี้

ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด หากระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ให้ทานน้ำผลไม้ 1กล่อง หรือ นม 1 กล่อง หรือลูกอมทันที ตรวจเช็คระดับน้ำตาลในเลือดอีกครั้ง หลังจาก 15 นาที

พาวน้ำ ขวดใหญ่ POW พาวเอสเซ้นส์ พาวน้ำพลูคาว

พาวซุยยากุเอสเซนส์ น้ำสมุนไพรพลูคาวสกัดเข้มข้น พาวซุยยากุเอสเซนส์ หรือพาวน้ำ  ผลิตภัณฑ์น้ำสมุนไพรสกัด 11 ชนิด ประกอบด้วยพลูคาวเป็นส่วนประกอบหลัก และสมุนไพรอื่น 10 ชนิด ได้แก่ ใบมะรุม มะขามป้อม กระชายดำ ตังกุย เห็ดหลินจือ เก๋ากี๊ สมอไทย โสม ลูกยอ เจี...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

เบาหวานมีกี่ชนิด

เบาหวานสามารถแบ่งออกเป็น 4 ชนิดใหญ่ๆ ที่มีอาการ สาเหตุ  ความรุนแรง และการรักษาต่างกัน ได้แก่โรคเบาหวานชนิดที่ 1พบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยส่วนใหญ่น้อยกว่า 30 ปี มักผอม ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน ถ้าขาดอินซูลินจ...

อ่านต่อ

แต่ละวัย รับน้ำตาล ได้เท่าไหร่

แต่ละเพศ และวัย มีความสามารถในการรับน้ำตาลไม่เท่ากัน เคยสังเกตุตัวเองมั้ยว่าทานไปเท่าไหร่? ลดการบริโภคน้ำตาล เพื่อหลีกเลี่ยงโรคอ้วน ตัดวงจรการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยปริมาณน้ำตาลที่เหมาะสมต่อวันของแต่ละช่วงอา...

อ่านต่อ

ข้อห้ามและข้อควรระวังในการทาน พลูคาว

พลูคาว หรือผักคาวตอง พืชสมุนไพรพื้นถิ่น นอกจากประโยชน์สรรพคุณที่เราทราบกันแล้ว ยังมีข้อห้าม ข้อควรระวังในการรับประทานเช่นเดียวกัน หากรับประทานพลูคาว "มากจนเกินไป" อาจทำให้เกิดผลข้างเคียง คือ พลูคาวมีฤทธิ์ทำให้หายใจสั้นและถี่ขึ้น อาจทำให้อาเจียน หรือห...

อ่านต่อ

เบาหวาน ในช่วงโควิด 19

แนะวิธีดูแลตนเองสำหรับผู้เป็นเบาหวาน ในช่วงระบาดของโควิด-19 ในช่วงที่เชื้อไวรัส โควิด-19 ยังไม่หมดไป ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังอย่างเช่นโรคเบาหวาน ถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวังตัวเองมากเป็นพิเศษ เพราะถ้าติดเชื้อแล้วจะมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงก...

อ่านต่อ

น้ำตาลสะสม และ น้ำตาลรายวัน

น้ำตาลลดไม่ได้หมายความว่าเบาหวานดีขึ้นเสมอไป ถ้ายังไม่ได้ตรวจน้ำตาลสะสม (HbA1C) ซึ่งไม่ควรเกิน 5.6ค่าน้ำตาลในเลือดรายวันอยู่ระหว่าง 70 – 99 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ถือว่าเป็นค่าน้ำตาลตามเกณฑ์ปกติอยุ่ระหว่าง 100 – 125 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ถือว่าเป็นกลุ่ม...

อ่านต่อ