บลูสเปียร่า สาหร่ายสไปรุลินากับระดับไขมันในเลือด

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2565 สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ทำพิธีส่งมอบเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยโครงการ "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าต่อการทำงานของไตและระดับไขมันในเลือด"  โดยมีนักวิจัย คือ ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐฏมิ พรหมณะ คณะพลังงานและสิ่งแวดล้อมและคณะ ร่วมกับ ภาคเอกชนที่ร่วมดำเนินโครงการวิจัย ได้แก่ บริษัท ซีเอ็มเอชเชียงใหม่ โฮลดิ้ง จำกัด และคู่ความร่วมมือคือ บริษัท พาว มิราเคิลจำกัด ซึ่งมีการพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจัดจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยบริษัท พาว มิราเคิลจำกัด ได้ทำการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ พาวซูการ์คิว (POW ZUKAR Q) ในครั้งนี้

จากผลงานการวิจัยของนักวิจัยมหาวิทยาลัยพะเยา ในการเลี้ยงสาหร่ายสไปรุลินา สายพันธ์ Platensis ด้วยกรรมวิธีพิเศษ เอกสิทธิ์ Blue Spira (บลู สเปียร่า) จากการวิจัยพบว่า สาหร่ายสไปรุลิน่า มีสารต้านอนุมูลอิสระชนิด ไฟโคไซยานิน และสารโพลีแซคคาไรด์ ซึ่งจะกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว สามารถช่วยลดความเสี่ยงภูมิแพ้ ช่วยควบคุมระดับไขมันในเลือด ได้ทั้งไขมันโคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ควบคุมความดันโลหิต โดยได้มีการนำมาทดสอบในอาสาสมัคร 36 คน (ข้อมูลการศึกษาของปี พ.ศ.2550) ที่ได้รับสไปรุลิน่า 9.5 กรัมต่อวัน เป็นเวลานานกว่า 6สัปดาห์ พบว่ามีความเปลี่ยนแปลงของระดับไขมันคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และความดันโลหิต ลดลง

และจากการวิจัยพบว่า "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าที่เลี้ยงด้วยกรรมวิธีพิเศษ BlueSpira ต่อการทำงานของไต และระดับไขมันในเลือด"  ในการทดลองจากอาสาสมัคร จำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกบริโภคสไปรุลิน่า(กลุ่มทดสอบ) 40 คน  และกลุ่มบริโภคสไปรุลินาหลอก(กลุ่มควบคุม) 40 คน  พบว่า มีการต่อการลดไขมันในเลือดคือ Total cholesterolTriglycerides Low-Density Lipoprotein Cholesterol และเพิ่มระดับ High-Density LipoproteinCholesterol นอกจากนั้นไม่มีผลต่อการทำลายการทำงานของไต และสุขภาพ โดยสไปรุลินาได้รับการับรองว่า เป็นอาหารที่ปลอดภัยอีกด้วย

ที่มาข้อมูล : สถาบันนวัตกรรมถ่ายทอดเทคโนดลยี มหาวิทยาลัยพะเยา

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

ความดันโลหิต คอเรสเตอรอล

บทความน่ารู้

ข้าวกล้อง ข้าวขาว

หลาย ๆ คนหันมาใส่ใจในสุขภาพมากขึ้น การออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่แคลลอรี่น้อย ๆ บางคนถึงขั้นบอกว่าเลิกกินข้าวเลยดีกว่าเพราะข้าวเป็นแป้ง น่าจะทำให้อ้วนได้ ดังนั้นในบทความนี้จะขอพูดถึงแหล่งคาร์โบไฮเดรตทางเลือกอย่างเช่น ข้าวกล้อง ว่ามีความแตกต...

อ่านต่อ

อายุมากขึ้น กินอาหารเท่าเดิม อาจไม่เพียงพอ

เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น แต่กินอาหารในปริมาณเท่าเดิม อาจไม่เพียงพอต่อร่างกายเมื่อคนเราอายุมากขึ้น ระบบต่างๆ ในร่างกายก็จะมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ลดลง โดยเฉพาะระบบการย่อยและการดูดซึมสารอาหารอย่างโปรตีน ที่มีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก ก็มีประสิทธิภ...

อ่านต่อ

ดื่มชาดี ต่อสุขภาพ

นักวิจัยชาวเนเธอร์แลนด์พบว่า ผู้ที่ได้รับสารฟลาโวนอยด์อย่างสม่ำเสมอ จะมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจหลอดเลือดลดลงถึง 68% ซึ่งสารที่ว่านี้พบมากในชาดำ หัวหอม และแอปเปิ้ลผู้ที่ดื่มชาดำวันละถ้วย จะช่วยลดความเสี่ยงจากหัวใจวายได้ถึง 44%รายงานการวิจัยจากองค์การอา...

อ่านต่อ

ไขมันเลว ลดได้

ด้วยนวัตกรรมแห่งอนาคตของคนไทย BlueSpira ที่วิจัยและทดสอบในอาสาสมัครจริง พิสูจน์ได้ว่าไขมันเลวลดลง 4เท่า!หากเป็นเรื่องสุขภาพ แค่รู้สึกได้ไม่พอ! ต้องวัดผลออกมาเป็นงานวิจัย นี่แหละ ความภาคภูมิใจของ พาว เราเชื่อมั่นในศักยภาพของนักวิจัยไทย และมุ่งมั่นนำพ...

อ่านต่อ

ไขมันพอกตับ ไขมันเกาะตับ

โรคไขมันพอกตับ Fatty Liver Disease หรือไขมันเกาะตับ เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากการสะสมไขมันในตับมากเกินปกติ คือประมาณ 5-10% ของตับ ไขมันที่เข้าไปแทรกตับนั้นมักเป็นไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์  ภาวะไขมันพอกตับนี้เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่ทำให้ผลการทำงานของตั...

อ่านต่อ