ออกกำลังกาย กระดูกไม่พรุน

<strong>ออกกำลังกาย</strong> กระดูกไม่พรุน #1

รารู้กันมานานแล้วว่าการออกกำลังกายทำให้กระดูกเราแข็งแรงขึ้น โดยเฉพาะเราควรสะสมความแข็งแรงมาตั้งแต่เด็ก แต่การที่จะทำวิจัยเปรียบเทียบคนที่ออกกำลังกายกับไม่ออกกำลังกาย ผลที่ได้ก็ยังมีตัวแปรอื่นๆ อีกมากมาย ที่มีผลต่อความแข็งแรงของกระดูก ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธุ์ อาหารที่กิน การพักผ่อน ความหนักในการออกกำลังกาย ฯลฯ

<strong>ออกกำลังกาย</strong> กระดูกไม่พรุน #4

จากการทดลองในคนคนเดียว โดยให้ร่างกายข้างหนึ่งออกกำลังกาย ส่วนอีกข้างหนึ่งไม่ต้องทำ แล้วนำผลมาเปรียบเทียบ ทีมนักวิจัยจึงเลือกทำการศึกษากระดูกแขนของนักกีฬามืออาชีพ ว่ากิจกรรมที่เขาซ้อมกันอยู่นั้นส่งผลต่อขนาดและความแข็งแรงของกระดูกอย่างไร เทนนิส นั้นมีการใช้มือข้างเดียวในการตีอยู่แล้ว ซึ่งพบว่ากระดูกแขน (humeral diaphysis bone) ของนักเบสบอลในข้างที่ใช้ขว้างนั้นมีความแข็งแรงมากกว่าข้างที่ไม่ได้ตีถึงสองเท่าเลยทีเดียว โดยเป็นการวัดจากขนาดและความหนาแน่นของกระดูก

การออกกำลังกายตั้งแต่เด็ก สามารถช่วยเพิ่มผิวกระดูกภายนอกให้มีชั้นพิเศษทำให้กระดูกแข็งแรง

เมื่อไปศึกษาต่อในกลุ่มที่จบอาชีพนักกีฬาแล้ว ซึ่งมีช่วงอายุระหว่าง 65-80 ปี และเป็นกลุ่มที่ไม่ได้ฟิตร่างกายต่อ มวลกระดูกของข้างที่ใช้งานนั้นปรากฏว่ากลับมาเป็นปกติเท่ากับแขนอีกข้างหนึ่งที่ไม่ได้ใช้ตี แต่ขนาดไม่เปลี่ยนเนื่องจากมวลกระดูกที่ลดลงนั้นส่วนมากลดจากภายในกระดูก ดังนั้นแม้มวลจะลดลงแต่กระดูกก็ยังมีขนาดใหญ่และมีความแข็งแรงมากกว่าอีกข้างอยู่ ผลบุญจากการออกกำลังกายนี้จะส่งผลดีกว่าการไม่ออกกำลังกายไปชั่วชีวิต และนักกีฬาที่ยังฟิตร่างกายต่อก็จะมีการเสียมวลกระดูกน้อย รักษาความแข็งแรงได้ดีกว่า

<strong>ออกกำลังกาย</strong> กระดูกไม่พรุน #3

โดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้หญิงอายุเกิน 60 ปี และ 1 ใน 5 ของผู้ชายอายุเกิน 60 ปี มีปัญหากระดูกพรุน และร้อยละ 90 ไม่รู้ว่าตัวเองกำลังประสบกับปัญหานี้อยู่ ดังนั้นการออกกำลังกายตั้งแต่เด็กจะสามารถช่วยเพิ่มผิวกระดูกภายนอกให้มีชั้นพิเศษทำให้กระดูกใหญ่ขึ้น ซึ่งเป็นนาทีทองซึ่งพ่อแม่ต้องให้ความสำคัญ เพราะผลดีนั้นจะติดตัวเขาไปตลอดชีวิต และที่สำคัญไม่ว่าวัยใด การมีกิจกรรมทางกายต่างๆ ให้เพียงพอตลอดชีวิต ก็จะสามารถช่วยให้กระดูกนั้นรักษาความแข็งแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

<strong>ออกกำลังกาย</strong> กระดูกไม่พรุน #2

คำแนะนำในการออกกำลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงให้กระดูกนั้น องค์การอนามัยโลกแนะนำให้มีกิจกรรมที่มีแรงต้าน เช่น เวทเทรนนิ่ง กายบริหาร ที่มีความหนักที่เราทำได้ประมาณ 8-12 ครั้ง หรือถ้ายกได้เกิน 12 ครั้ง แสดงว่าเบาไป ร่วมกับกิจกรรมที่มีการลงน้ำหนัก มีแรงกระแทก เช่น วิ่ง กระโดด ชกมวย ฯลฯ และจากงานวิจัยนี้เราก็สามารถเพิ่มกิจกรรมที่เน้นความเร็ว อย่างการขว้างบอล ชกลม ฯลฯ เข้าไปในโปรแกรมได้อีกด้วย ซึ่งทำให้เราสามารถเลือกออกกำลังกายได้หลากหลายและง่ายขึ้น

ที่มา : https://www.greenery.org/articles/healthycoach-stronger-bone/

กาแฟพาว เอส คอฟฟี่ POW S Coffee

กาแฟพาวเอส PowSCoffe ด้วยส่วนผสมที่ลงตัว อร่อย รสชาติเข้มข้น ไม่มีไขมันทรานส์ ไม่มีน้ำตาล พาวเอสคอฟฟี่ เร่งเบิร์น คุมหิว อิ่มนาน เพื่อสุขภาพและความอร่อยที่ลงตัวส่วนประกอบ1. ครีมเทียมจากน้ำมันมะพร้าว2. ผงกาแฟโรบัสตาคั่วสำเร็จรูป3. พาลาทิโนส4. น้ำมันเอ...

ดูรายละเอียด

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

บทความน่ารู้

โรคฉวยโอกาส มาเยือนเมื่อภูมิต่ำ

หลายคนอาจจะไม่เป็นกังวล เพราะไม่รู้ว่าเมื่อภูมิคุ้มกันลดน้อยลง จะเกิดอะไรขึ้น อายุที่เพิ่มมากขึ้น ความเครียดจากการทำงาน การนอนไม่หลับพักผ่อนน้อย ส่งผลให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอจนเสื่อมโทรมลงได้ แล้วรู้หรือไม่ว่าการปล่อยให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอก็เหมือนการเปิดป...

อ่านต่อ

คำถามยอดฮิต ทำไมเข้าสู่วัยทองแล้วอ้วนง่าย

คำถามยอดฮิต ทำไมอายุ 40+ หรือเข้าสู่ภาวะวัยทองถึงอ้วนง่าย คะคุณหมอ?เมื่อเอสโตรเจนตก อัตราการเผาผลาญต่ำลงเยอะตามไปด้วย ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงอาหารจำพวกแป้ง,น้ำตาล น้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกฮอล์ และควรออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง และควรรั...

อ่านต่อ

ลดไขมันเลว

โปรเจคลดเลว ด้วยนวัตกรรมแห่งอนาคตของคนไทย BlueSpira ที่วิจัยและทดสอบในอาสาสมัครจริง พิสูจน์ได้ว่าไขมันเลวลดลง 4เท่า! หยุดสัญญาณทำร้ายสุขภาพอันดับ 1 ใน 3 เดือนที่ทาน กับ Pow Zukar Q หากเป็นเรื่องสุขภาพ แค่รู้สึกได้ไม่พอ! ต้องวัดผลออกมาเป็นงา...

อ่านต่อ

เคล็ดลับหุ่น ปัง เฟิร์ม และลีนไขมัน

เคล็ดลับหุ่น ปัง เฟิร์ม และลีนไขมัน เริ่มต้นด้วย พาวเอสคอฟฟี่  Smart  Silm  Strong อยู่ในซองเดียวกัน หอม สดอร่อยรสชาติใกล้เคียงกับกาแฟสด เป็นกาแฟเพื่อสุขภาพ  มีเมือกกระเจี๊ยบเขียวที่ช่วยในการบล็อกไขมัน และช่วยให้อิ่มท้องPOW S Cof...

อ่านต่อ

ผู้สูงวัย ดื่มนมอย่างไรให้สุขภาพดี

ผู้สูงอายุ มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และสรีระ ส่งผลต่อทั้งการดำเนินชีวิต และการรับประทานอาหาร หนึ่งในโรคที่มักจะพบในผู้สูงอายุคือ โรคกระดูกพรุน เป็นภาวะที่กระดูกมีความเปราะบาง ทำให้หักได้ง่าย เพราะการดูดซึมแคลเซียมของผู้สูงอายุนั้นลดลง นอกจากอาหารท...

อ่านต่อ