พาวซูการ์คิว และ พาวแคปซูล

พาวแบบเม็ด มี 2 ชนิด  คือ พาวแคปซูล และ พาวซูการ์คิว ซึ่งทั้ง 2 ชนิด มีความต่างกันคือ

  • พาวซูการ์คิว Zukar Q สำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพน้ำตาล ไขมันคอเลสตอลรอล ไขมันเลว และความดัน มีงานวิจัยบลูสเปียร่าจากม.พะเยา
  • พาวแคปซูล มีส่วนผสมของพลูคาว และสมุนไพรอื่นอีก 11 ชนิด ทานหลังอาหาร หรือทานก่อนนอนช่วยให้การนอนหลับมีประสิทธิภาพ พักผ่อนได้เต็มที่ เพื่อภูมิต้านทานที่ดีขึ้น

POW DERLA พาวเดอร์ล่า

พาวเดอร์ล่า POWDERLA  พาวรูปแบบใหม่ พาวผงชงดื่ม ได้ประโยชน์ อร่อย ชงง่าย โดยมีพลูคาวเป็นส่วนผสมหลัก นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วย ขิง  กระชายขาว  ตรีผลา (สมอไทย มะขามป้อม สมอพิเภก) ใบหม่อน  ชะเอมเทศ  เก๊กฮวย  เจียวกู้หลาน  แป๊ะก๊วย  ใบบัวบก  งาดำ  สารสกัด...

ดูรายละเอียด

ป้องกันมะเร็ง

บทความน่ารู้

พาวเมาท์สเปรย์ ลดแบคทีเรียในปาก

พาวเมาท์สเปรย์ ช่วยลดแบคทีเรียในช่องปากได้ถึง 99.96% ไม่ใช่แค่บอก แต่เราได้ทำการทดสอบมาแล้ว จาก โครงการการทดสอบประสทิธิภาพและความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์สเปรย์ระงับกลิ่นปากผสมสารสกัดสมุนไพร ได้รับการสนับสนุนจัดหาผู้เชี่ยวชาญโดย ITAP สวกช. (เลขที่อนุมัต...

อ่านต่อ

สมุนไพรพื้นบ้านของไทยช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

สมุนไพรพื้นบ้านของไทย ที่ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ทั้งป้องกันไวรัส ป้องกันแบคทีเรีย และอีกสารพัดคุณสมบัติเพื่อสุขภาพ จึงไม่น่าแปลกใจว่าทำไมฮาว์ธัยเนีย (Houttuynia) หรือพลูคาว จึงเป็นสมุนไพรมาแรงของยุคนี้ ที่ไม่ใช่แค่ในประเทศไทย ต่างประเทศก็สนใจนำเป็นส่...

อ่านต่อ

จุลินทรีย์ ที่อยู่ในร่างกาย ของเรา

Akkermansia จุลินทรีย์รักษาสมดุลภูมิคุ้มกันจุลินทรีย์พระเอกของสุขภาพร่างกายเรา ทำหน้าที่ผลิตกรดไขมันสายสั้น (short chain fatty acid) ที่ช่วยเสริมทัพความแข็งแรงของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายได้แก่ กรดแอซิติก กรดโพรพิโอนิก และกรดบิวทิริก แถมยังช่วยป้องกัน...

อ่านต่อ

มั่นใจ สมุนไพรไทย

ใครที่ยังสงสัยว่าสมุนไพรไทยดีจริงไหม ?  ช่วยเรื่องอะไรได้บ้าง?  3 คำถาม-คำตอบ กับ นพ.มารุต จิรเศรษฐสิริ อดีตอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข จะช่วยไขข้อข้องใจและสร้างความมั่นใจได้ว่า สมุนไพรมีดีและปลอดภัย ลองเปิดใ...

อ่านต่อ

ข้อห้ามและข้อควรระวังในการทาน พลูคาว

พลูคาว หรือผักคาวตอง พืชสมุนไพรพื้นถิ่น นอกจากประโยชน์สรรพคุณที่เราทราบกันแล้ว ยังมีข้อห้าม ข้อควรระวังในการรับประทานเช่นเดียวกัน หากรับประทานพลูคาว "มากจนเกินไป" อาจทำให้เกิดผลข้างเคียง คือ พลูคาวมีฤทธิ์ทำให้หายใจสั้นและถี่ขึ้น อาจทำให้อาเจียน หรือห...

อ่านต่อ