บลูสเปียร่า ส่วนผสมสำคัญใน พาวซูการ์คิว

จากการทดลองของคณะวิจัย ม.พะเยา สาหร่ายสไปรูลิน่า จนได้สารสกัดบลูสเปียร่า ส่วนผสมหลักในผลิตภัณฑ์ "พาวซูการ์คิว"   ผลิตภัณฑ์ทางร่วมสำหรับควบคุมดูแลกลุ่มโรคNCDs กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ไขมัน ความดัน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือด

จากการวิจัยทดลองให้อาสาสมัครจำนวน 64 คน ที่ผ่านการทดลองรับประทานเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ผลค่าระดับน้ำตาล ค่าความดันในเลือดออกมาเป็นที่น่าพอใจ ร่างกายได้ผ่อนคลายหลับได้มากขึ้น  และที่สำคัญค่าไตเป็นปกติจากการบริโภคติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์


POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

บำรุงตับ

บทความน่ารู้

สมุนไพร เสริมภูมิคุ้มกัน

ข้อมูลจากผลการวิจัยทางการแพทย์ระบุว่า สมุนไพรไทยทั้ง 3 ชนิดมีประโยชน์มากมาย เริ่มจากฟ้าทะลายโจร  สมุนไพรที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ทางการแพทย์แผนไทยใช้บรรเทาอาการไข้หวัด ไอ เจ็บคอ รวมถึงอาการอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ  ยังมีผลจากงานวิจัยที่น่าสนใจว่าฟ้าทะลา...

อ่านต่อ

ลำไส้ดี ชีวิตยืนยาว

สุขภาพยังดีอยู่ไหม ให้ดูลึกถึงลำไส้ เพราะ 70% ของภูมิคุ้มกันอยู่ในนั้น หลายคนอาจยังไม่รู้ว่า ลำไส้ไม่ได้เป็นเพียงอวัยวะย่อยอาหาร แต่ยังเป็นบ้านของภูมิคุ้มกันหลังใหญ่ที่สุด หากสมดุลของลำไส้สะดุด จุลินทรีย์ดีในลำไส้ก็จะลดน้อยลง ส่งให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ...

อ่านต่อ

9 อาการ เตือน โรคเบาหวาน

กว่าจะรู้ตัว ก็เป็นเบาหวานเสียแล้ว สังเกตตัวเองว่าเข้าข่ายไปแล้วกี่ข้อ 9 อาการเตือน โรคเบาหวาน ดังนี้ ปัสสาวะบ่อยผิดปกติ คอแห้งกระหายน้ำ หิวบ่อยกินจุกว่าเดิม ผิวหนังแห้งและคัน เป็นแผลแต่หายช้ากว่าปกติ อ่อนเพลียไม่มีแรง มีอาการตาพล่ามัวมองไม่ชัดเป็นช่...

อ่านต่อ

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย

กว่า 15 ปี ของความพยายาม และความหวังอันยิ่งใหญ่ของเกษตรกรไทย สู่ตลาดสากล ผลงานภายใต้โครงการวิจัย จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จํานวน 4 ฉบับ พลูคาวสกัดเข้มข้น จากงานวิจัย เป็นเอกสิทธิ์ 1 เดียวในประเทศไทย ทั้งใน กระบวนการผลิตในรูปแบบเครื่องดื่ม ผงบรรจุซอง...

อ่านต่อ

ความเครียด ลำไส้ สัมพันธ์กัน

เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมเวลาเครียดมากๆ เราถึงรู้สึกปวดท้อง กระอักกระอ่วน อาการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับลำไส้อย่างไร และ มีวิธีแก้อย่างไรได้บ้าง ลำไส้นั้นก็เหมือนสมองอันที่สองของร่ายกาย เพราะลำไส้มีสาร Serotonin (เซโรโทนิน) คือสารที่ส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก...

อ่านต่อ