รีวิวผลิตภัณฑ์พาว จากทางบ้าน

พาวน้ำสมุนไพรพลูคาวสกัดเข้มข้นและสมุนไพรอื่นๆอีก 10 ชนิด ได้แก่ ใบมะรุม มะขามป้อม กระชายดำ ตังกุย เห็ดหลินจือ เก๋ากี๋ สมอไทย โสม ลูกยอ และเจียวกู้หลาน 

พาว เฮอร์เบิล เฟรซ เมาท์สเปรย์ ช่วยให้ลมหายใจหอมสดชื่น ลดกลิ่น ลดการอักเสบ และปัญหาในช่องปาก

ขอบคุณช่องยูทูป ฮักอีสาน บ้านเฮา  Hug isan ban hao

น้ำสมุนไพรพลูคาว กินง่าย รสชาติเปรี้ยวหวานหอมกลิ่นสมุนไพร พาวเมาท์สเปรย์ ช่วยลดกลิ่นกวนใจในช่องปาก กลิ่นหอม เย็นชื่นใจ

พาวน้ำ ขวดใหญ่ POW พาวเอสเซ้นส์ พาวน้ำพลูคาว

พาวซุยยากุเอสเซนส์ น้ำสมุนไพรพลูคาวสกัดเข้มข้น พาวซุยยากุเอสเซนส์ หรือพาวน้ำ  ผลิตภัณฑ์น้ำสมุนไพรสกัด 11 ชนิด ประกอบด้วยพลูคาวเป็นส่วนประกอบหลัก และสมุนไพรอื่น 10 ชนิด ได้แก่ ใบมะรุม มะขามป้อม กระชายดำ ตังกุย เห็ดหลินจือ เก๋ากี๊ สมอไทย โสม ลูกยอ เจี...

ดูรายละเอียด

ต่อต้านอนุมูลอิสระ

บทความน่ารู้

สาหร่ายสไปรูไลน่า สาหร่ายเกลียวทอง

สาหร่ายเกลียวทอง หรือ Spirulina spp เป็นสาหร่ายที่จัดอยู่ในพวกสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินลักษณะโดยทั่วไปเป็นสาหร่ายหลายเซลล์มีลักษณะเป็นสายสั้นๆ บิดตัวไปมาเป็นเกลียว เจริญเติบโตได้ดีในน้ำกร่อย ในเซลล์ไม่มีสารพวก Cellulose เป็นส่วนประกอบ จึงทำให้ร่างกายส...

อ่านต่อ

ประโยชน์ กระชายขาว

กระชาย ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Kaempfer แต่ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. เป็นพืชล้มลุกที่เรามักนิยมนำเหง้ามาใช้ประกอบอาหาร แต่กระชายมีสรรพคุณตั้งแต่รากถึงใบกระชายขาวสกัด เป็นยาต้านไวรัส โควิด-19 ได้ดี 100%การใช้กระชายในวัตถุประสงค์ต้...

อ่านต่อ

แนวโน้ม จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน

คนไทยป่วยเบาหวาน 5 ล้านคน ค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูงมากขึ้น แนวโน้มเพิ่มจำนวน-รุนแรงขึ้น ควบคุมระดับน้ำตาลเพียง 40% ตายจากเบาหวาน-ภาวะแทรกซ้อน 21.96% สูญเสียค่าใช้จ่ายรักษาเบาหวานและ3โรคร่วม ปีละถึง 3 แสนล้านบาทนพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย...

อ่านต่อ

ดื่มชาดี ต่อสุขภาพ

นักวิจัยชาวเนเธอร์แลนด์พบว่า ผู้ที่ได้รับสารฟลาโวนอยด์อย่างสม่ำเสมอ จะมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจหลอดเลือดลดลงถึง 68% ซึ่งสารที่ว่านี้พบมากในชาดำ หัวหอม และแอปเปิ้ลผู้ที่ดื่มชาดำวันละถ้วย จะช่วยลดความเสี่ยงจากหัวใจวายได้ถึง 44%รายงานการวิจัยจากองค์การอา...

อ่านต่อ

พาว การรับประทาน วิธีการเก็บรักษา

การรับประทานพาวมีลูกค้าหลายๆ ทานที่ซื้อพาวไป ได้สอบถามวิธีการรับประทานพาวมาหลายข้อความ วิธีทานพาว วิธีดื่มพาว มีข้อควรระวังอะไรบ้าง มีคำตอบดังนี้ครับ ควรเริ่มดื่มพาว วันละ 15ml. (ประมาณเกือบครึ่งแก้วตวง) หลังอาหาร มื้อใดก็ได้ ในกรณีมียาประจำที่ต้องท...

อ่านต่อ