ผลสรุปจากอาจารย์ผู้วิจัย บลูสเปียร่า ในพาวซูการ์คิว

บลูสเปียร่า ไม่ใช่ยา เป็นสาหาร่ายสไปรูลิน่า สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินเป็น Super Food 

หลายท่านกังวลการรับประทาน Super Food ที่มีโปรตีนสูงจะส่งผลต่อไตและตับหรือไม่?

จากการวิจัยในมนุษย์ระดับการทำงานของตับและไตไม่เปลี่ยนแปลงในกลุ่มที่ทานบลูสเปียร่าเป็นประจำ หลังจากทาน 12 สัปดาห์ ผลการตรวจเลือดครั้งแรก และผลการตรวจเลือดหลังจากทานติดต่อกัน 12 สัปดาห์ ค่าของไตและตับไม่เปลี่ยนแปลง ไขมันในเลือดลดลง ซึ่งมีผลสอดคล้องกับการวิจัยครั้งก่อนหน้า ที่ไขมันในเลือดลดลง ไขมันเลวลดลง โดยเฉพาะคอลเลสเตอรรอลลดลง4-6เท่า สิ่งที่ชัดเจนอีกอย่าง คือ น้ำตาลในเลือดลดลงอย่างมาก   และนอกจากนี้ยังให้ผลในการลดการอักเสบ ส่งผลให้ร่างกายเสื่อมช้าลง เสื่อมน้อยลง


POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

คุมเบาหวานที่ดี คือคุมให้ดีตลอด

คุณหมอแนะนำวิธี การคุมเบาหวาน การทานอาหาร เพื่อคุมน้ำตาลเบาหวาน ควรทานอย่างไร ทานแบบไหน ที่จะคุมน้ำตาลให้ดีตลอดเป้าหมายของผู้ที่มีน้ำตาลในเลือดสูง เบาหวาน และทานยารักษาอาการอยู่คือ ต้องการลดปริมาณยาที่ทานลง และคุมน้ำตาลได้ดี...

อ่านต่อ

เบาหวาน ขึ้นตา

เบาหวานขึ้นตา เป็นภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน ทำให้เส้นเลือดที่จอตาได้รับความเสียหายจากน้ำตาลอุดตัน เลือดไม่ไหลเวียนได้ตามปกติ ในช่วงแรกอาจไม่พบอาการหรืออาจมองเห็นผิดปกติเพียงเล็กน้อย แต่หากมีอาการรุนแรง แล้วปล่อยไ...

อ่านต่อ

ใส่ใจภูมิตนเอง

ออกนอกบ้านก็เสี่ยง อยู่บ้านเฉยๆก็ใช่ว่าจะปลอดภัย การทำให้ร่างกายแข็งแรง และ มีภูมิต้านทานที่มากพอ จะทำให้ต่อสู้กับโรคร้ายได้ ระหว่างรอวัคซีน ใส่ใจตนเอง สร้างร่างกายให้แข็งแรง ...

อ่านต่อ

ทำไมตัดสินใจเลือกพาว

ปัญหาสุขภาพมาแบบไม่เลือกอายุ ถึงแม้อายเพียง 37 ปี ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง กรดไหลย้อน ชอบทานหวาน  สุขภาพไม่ค่อยดีตั้งแต่อายุยังน้อย ทุกอาการรุมเร้า ส่งผลถึงการใช้ชีวิตประจำวัน พากังวล...

อ่านต่อ

แต่ละวัย รับน้ำตาล ได้เท่าไหร่

แต่ละเพศ และวัย มีความสามารถในการรับน้ำตาลไม่เท่ากัน เคยสังเกตุตัวเองมั้ยว่าทานไปเท่าไหร่? ลดการบริโภคน้ำตาล เพื่อหลีกเลี่ยงโรคอ้วน ตัดวงจรการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยปริมาณน้ำตาลที่เหมาะสมต่อวันของแต่ละช่วงอา...

อ่านต่อ