ปวดหลังแบบไหน อันตรายจนต้องพบแพทย์

<strong>ปวดหลัง</strong>แบบไหน อันตรายจนต้องพบแพทย์ #1

โดยปกติเราแบ่งอาการปวดหลัง เป็น 2 แบบ 

  1. ปวดเฉียบพลัน (Acute: ปวดหลังต่อเนื่องน้อยกว่า 6 สัปดาห์) กึ่งเฉียบพลัน (Subacute: ปวดหลังต่อเนื่อง 6-12 สัปดาห์)
  2. ปวดเรื้อรัง (Chronic: ปวดหลังต่อเนื่องนานกว่า 12 สัปดาห์) ในประเทศอุตสาหกรรม ความชุกชั่วชีวิต (Lifetime Prevalence) ของโรคปวดหลังพบประมาณ 60-70% (ความชุกต่อปี ประมาณ 15-45% ส่วนอุบัติการณ์ในผู้ใหญ่พบได้ประมาณ 5% ต่อปี)

อาการปวดที่ต้องระวัง : อาการปวดหลังที่สัมพันธ์กับความเสื่อมของกระดูกสันหลัง ได้แก่ ภาวะกระดูกพรุน ภาวะกระดูกสันหลังคด หรือค่อม ผิดรูป

ปวดหลังแบบไหนอันตรายต้องรีบพบแพทย์

  • ปวดหลังต่อเนื่อง และปวดมากขึ้นเรื่อยๆ มากกว่า 4 สัปดาห์
  • ปวดหลังที่เกิดจากอุบัติเหตุรุนแรง เช่น อุบัติเหตุจราจร ตกจากที่สูง
  • ปวดหลังร่วมกับความผิดปกติของระบบประสาท เช่น ปวดหลังร่วมกับอาการปวดร้าวลงขา ชาขา หรืออ่อนแรงของขา
  • ปวดหลังร่วมกับการควบคุมการขับถ่ายที่เสียไป เช่น สูญเสียการกลั้นอุจจาระ/ปัสสาวะ
  • ปวดหลังร่วมกับอาการไข้ น้ำหนักลด

หากมีอาการดังนี้ให้รีบพบแพทย์เพื่อตรวจโดยละเอียดด่วน

เคราติน คอลลาเจน ไตรเปปไทด์

Keratin collagen คลอลาเจนบริสุทธิ์100% เป็นชนิดไตรเปปไทด์ เคราตินคลอลาเจนนำเข้าจากประเทศเกาหลี คอลลาเจนไตรเปปไทด์ สกัดมาจากปลาน้ำจืด ผู้แพ้อาหารทะเลทานได้ ไม่มีกลิ่นคาว ไม่มีสารตกค้างเจือปน ร่างการสามารถดูดซึมได้รวดเร็วการรับประทาน : แนะนำทานตอนท้องว...

ดูรายละเอียด

บำรุงกล้ามเนื้อ กระดูก ไขข้อ

บทความน่ารู้

วิ่งมานานทำไมยังไม่ผอมซะที

วิ่งแล้วกินอะไรก็ได้เมื่อออกกำลังกาย เราจะเริ่มประทานอาหารมากขึ้นเป็นปกติ สาเหตุเพราะร่างกายต้องการพลังงานเพิ่มสำหรับประกอบกิจกรรมออกกำลังกาย แต่กับดักแรกที่สำคัญคือ เมื่อวิ่งจบ นักวิ่งมักจะคิดไปเองว่าร่างกายได้เผาผลาญแคลอรี่ในปริมาณมากกว่าปกติ เราไ...

อ่านต่อ

ออกกำลังกาย กระดูกไม่พรุน

รารู้กันมานานแล้วว่าการออกกำลังกายทำให้กระดูกเราแข็งแรงขึ้น โดยเฉพาะเราควรสะสมความแข็งแรงมาตั้งแต่เด็ก แต่การที่จะทำวิจัยเปรียบเทียบคนที่ออกกำลังกายกับไม่ออกกำลังกาย ผลที่ได้ก็ยังมีตัวแปรอื่นๆ อีกมากมาย ที่มีผลต่อความแข็งแรงของกระดูก ไม่ว่าจะเป็นกรรม...

อ่านต่อ

สัญญาณวัยทอง

วัยหมดประจำเดือนปกติร่างกายผู้หญิงจะผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนถูกสร้างขึ้นจากรังไข่ทำให้มีประจำเดือน แต่เมื่อใดที่รังไข่หยุดผลิตฮอร์โมนส่งผลทำให้ไข่ไม่ตก และไม่ผลิตประจำเดือนเป็นเวลาติดต่อกัน 12 เดือน ผู้หญิงวัยทองพบบ่อยในช่วงอายุ 49–55 ปี วัยทองสามารถเกิ...

อ่านต่อ

คาร์โบไฮเดรต สำหรับการออกกำลังกาย

โหลดคารโบ หรือ Carb Loading คือ เทคนิคทางโภชนาการที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ออกกำลังกาย ด้วยการเพิ่มสัดส่วนในการรับประทานอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรต ซึ่งถือเป็นวิธีหนึ่งที่นักวิ่ง นักปั่น และนักไตรกีฬา เลือกใช้ก่อนออกกำลังกายและก่อนถึงวัน ที่จะลงแข่งขันจ...

อ่านต่อ

การออกกำลังกาย กับ การชะลอวัย

การย้อนวัยสู่ความหนุ่มสาวที่ทุกคนสามารถทำได้ทันที แต่ต้องอาศัยวินัย นั่นก็คือการออกกำลังกายเป็นประจำและสม่ำเสมอ จากผลวิจัยที่ Harvard Medical School ในเดือนมีนาคม 2014 ได้กล่าวถึงผลกระทบของการแก่ชราต่อร่างกายเราที่น่าสนใจความสามารถของหัวใจในการปั๊มเล...

อ่านต่อ